TECH INFO

การ​จำแนก​ระดับ​ชั้น​ความ​สะอาด​ตาม Federal Standard 209E VS ISO 14644-1

6/7/2565

การ​จำแนก​ระดับ​ชั้น​ความ​สะอาด​ตาม  Federal Standard 209E  VS ISO 14644-1

ห้องคลีนรูมหรือห้องสะอาดสามารถจำแนกตามความสะอาดของอากาศภายในห้อง ความสะอาดของห้องตามจำนวนและขนาดของอนุภาคต่อหน่วยของอากาศ โดยมีชื่อเรียกที่ต่างกัน

 

Overall Leak Test : Filter in AHU

4/4/2566

Overall Leak Test : Filter in AHU

Filter Installation Leak Test (Overall Leak Test : Filter in AHU.)
เพื่อให้แน่ใจว่า HEPA Filter ไม่เกิดการรั่วหลังการติดตั้ง HEPA Filter จะต้องมีการทดสอบ Overall Leak Test โดยจะทำการอัดสาร PAO Oil (Poly-Alpha-Olefin) ซึ่งเป็นน้ำมันหล่อลื่นสังเคราะห์ (Synthetic oil) ชนิดหนึ่งให้แตกตัวกลายเป็นไอที่มีขนาด 0.3µm เพื่อใช้แทนอนุภาคของฝุ่น ทั้งนี้ค่าปริมาณความหนาแน่นของอนุภาคที่วัดได้ทั่วแผ่น HEPA Filter in AHU โดยเครื่อง Aerosol Photometer ค่าปริมาณการรั่วจะต้องไม่เกิน 0.03%

Temperature Mapping

11/7/2565

Temperature Mapping
Temperature and Humudity distribution หรือที่เรียกกันว่า Tempurature Mapping คือ การตรวจวัดอุณหภูมิและความชื้นสำหรับการทำแผนผังอุณหภูมิซึ่งมีความจำเป็นอย่างมากสำหรับผลิตภัณฑ์ที่ต้องควบคุมสภาวะสภาพแวดล้อมในการเก็บรักษาสินค้า หากไม่มีการจัดทำแผนผังอุณหภูมิและความชื้นเพื่อประเมินสภาพแวดล้อมก่อนแล้วนั้นอาจทำให้มีความเสี่ยงในการเก็บรักษาสินค้า หรืออาจทำให้สินค้าเกิดความเสียหายขึ้นได้

Cleanroom Performance Testing (CPT) - National Environmental Balancing Bureau (NEBB)

6/7/2565

Cleanroom Performance Testing (CPT) - National Environmental Balancing Bureau (NEBB)

  CPT หรือ Cleanroom Performance Testing (CPT) คือมาตรฐานการตรวจสอบห้องสะอาดของ NEBB หรือ National Environmental Balancing Bureau ซึ่งเป็นมาตรฐานของอเมริกาที่ได้รับการยอมรับและนำมาใช้ในการยืนยันและเพิ่มความเชื่อมั่นผลการตรวจสอบห้องสะอาดนั้นๆ

 

New Standard ISO 14644-1:2015 - Classification of air cleanliness by particle concentration (Second edition 2015-12-15)

16/3/2566

New Standard ISO 14644-1:2015 - Classification of air cleanliness by particle concentration (Second edition 2015-12-15)

มาตรฐาน ISO 14644-1:2015 ฉบับล่าสุด ได้ถูกจัดทำแล้วเสร็จในวันที่ 15 ธันวาคม 2015 โดย Contamination Control Committee ISO/TC 209 ซึ่งมีการแก้ไขตั้งแต่ชื่อหัวเรื่องของ ISO 14644-1 นี้เป็น "Classification of air cleanliness by particle concentration" มีการเปลี่ยนวิธีคำนวนทางสิถิต การเลือกตำแหน่งและจำนวนในการสุ่มตัวอย่าง การเก็บข้อมูล มีการกำหนดมาตรฐานและข้อกำหนดของเครื่องมือที่ใช้ในการวัด การปรับแก้คำจำกัดความบางอย่าง

Differential Pressure Test (การทดสอบความดันต่าง)

11/7/2565

Differential Pressure Test (การทดสอบความดันต่าง)

ในการตรวจสอบห้องสะอาดจำเป็นจะต้องตรวจสอบดูว่าอากาศในห้องสะอาดนั้นมีการเคลื่อนที่จากจุดที่สะอาดไปสู่จุดที่สะอาดน้อยกว่าหรือไม่ ซึ่งวิธีในการตรวจสอบนั้นสามารถทำได้โดยการตรวจดูความดันต่างระหว่างห้องหรือจุด บริเวณต่างๆ ของห้องสะอาด อากาศจะเคลื่อนที่จากพื้นที่ที่มีความดันสูงไปสู่พื้นที่ที่มีความดันต่ำกว่า ดังนั้นห้องที่สะอาดกว่าควรจะต้องมีความดันมากกว่าห้องที่สะอาดน้อยกว่า

Airflow Test (การทดสอบอัตราการไหลของอากาศ)

11/7/2565

Airflow Test (การทดสอบอัตราการไหลของอากาศ)

 การตรวจวัดอัตราการไหลของลมหรือ Airflow test สามารถทำได้โดยการตรวจวัดปริมาณลมต่อหน่วยของเวลา (Airflow volume) หรืออัตราเร็วของลม (Airflow velocity) ซึ่งในการเลือกใช้วิธีตรวจวัดนั้นจะขึ้นกับความเหมาะสม และชนิดของห้องสะอาดนั้นๆ รวมถึงข้อกำหนดของผู้ใช้งานด้วย

Who prepared Cleanroom Standards?

9/7/2565

Who prepared Cleanroom Standards?

มาตราฐานในด้านการควบคุมการปนเปื้อน (Contamination control standards) ในอดีตจนถึงช่วงประมาณปี 1990 นั้น เป็นมาตรฐานที่เขียนเพื่อใช้เฉพาะในประเทศที่มีการใช้งานมาก ซึ่งได้แก่ อเมริกา ยุโรป และญี่ปุ่น

 ในปี 1998 ได้มีการรวมกลุ่มสมาคมที่ดูแลด้านการควบคุมการปนเปื้อนของแต่ละประเทศ (National contamination control societies) ทั้งหมด 16 ประเทศ จัดตั้งเป็น International Confederation of Contamination Control Societies (ICCCS) ซึ่งมีจุดประสงค์เพื่อสร้างมาตรฐานห้องสะอาดระหว่างประเทศ (International Cleanroom Standards) ซึ่ง ICCCS นั้นเป็นผู้มีส่วนร่วมในการประสานงานเพื่อสร้างมาตรฐาน ISO ในปัจจุบัน




Cleanrooms Types and Occupancy state (รูปแบบและสถานะต่างๆ ของห้องสะอาด)

8/7/2565

Cleanrooms Types and Occupancy state (รูปแบบและสถานะต่างๆ ของห้องสะอาด)

   ห้องสะอาดสามารถแบ่งตามรูปแบบของการไหลของอากาศตามมาตรฐาน ISO 14644-4 ได้ดังนี้

(a) แบบลมทิศทางเดียว (Unidirectional Airflow) - เป็นระบบลมที่มีลักษณะทิศทางที่ชัดเจนทิศทางเดียว จาก final filtered air supply ไปสู่ air return inlets โดยตรง โดยห้องสะอาดระบบนี้สามารถเรียกได้อีกว่าเป็นแบบ Laminar flow ระบบลมนี้ส่วนใหญ่จะเป็นใช้กับห้องสะอาดระดับ ISO 5 ขึ้นไป

 

 

Principles of Cleanroom Testing (หลักการตรวจสอบห้องสะอาด)

2023-03-10

Principles of Cleanroom Testing (หลักการตรวจสอบห้องสะอาด)

การตรวจสอบห้องสะอาดว่าสามารถใช้งานได้ตามที่ผู้ใช้งานต้องการนั้นจะมีต้องทำการตรวจสอบยืนยันโดยมีหลักการดังนี้

1.อากาศที่จ่ายเข้ามาในห้องสะอาดจะต้องมีปริมาณ (Quantity) ที่จะสามารถเจือจางหรือกำจัดสิ่งปนเปื้อนที่เกิดขี้นในห้อง ซึ่งสามารถตรวจสอบได้โดยการหา Air change rate (ACH or air change/hr) หรือ Air velocity (m/s) ของห้องว่าอยู่ในระดับที่ได้ออกแบบไว้หรือไม่

ICCCS (the International Confederation of Contamination Control Societies) and Cleanroom Technology Societies

2015-06-06

ICCCS (the International Confederation of Contamination Control Societies) and Cleanroom Technology Societies

ในปัจจุบันได้มีการสร้างมาตรฐานตัวใหม่ขึ้น ซึ่งได้รับความนิยมอย่างกว้างขวาง มีการนำส่วนหนึ่งของเนื้อหามาใช้เป็นพื้นฐานในการออกแบบและตรวจสอบห้องสะอาดในปัจจุบันโดยเนื้อหาภายในจะเกี่ยวข้องกับการควบคุมการปนเปื้อน (Contamination control standards) นั่นคือ ISO14644: Cleanrooms and associated controlled environments ซึ่งหน่วยงาน ICCCS (the International Confederation of Contamination Control Societies)

What is Cleanroom ?

2015-06-06

What is Cleanroom ?

Cleanroom หรือ ห้องสะอาด คือห้องหรือพื้นที่ที่มีการออกแบบและควบคุมปริมาณอนุภาค ฝุ่นละอองและสิ่งปนเปื้อนในอากาศขนาดต่างๆ ให้อยู่ในระดับที่ไม่เกินมาตรฐานที่กำหนด และจะต้องมีการเฝ้าระวังโดยการตรวจติดตามระดับความสะอาดให้อยู่ในเกณฑ์ที่กำหนดตลอดระยะเวลาการใช้งาน นอกจากนี้ยังมีการควบคุมปัจจัยอื่นๆ ตามที่ได้กำหนดไว้ เช่น อุณหภูมิ ความชื้นและความดัน

Cleanrooms Cleanliness Classification

7/7/2565

Cleanrooms Cleanliness Classification

การจำแนกระดับความสะอาดของห้องสะอาด (Cleanroom Cleanliness Classification) สามารถทำได้โดยการตรวจนับปริมาณฝุ่นขนาดต่างๆ ในอากาศปริมาตรหนึ่งๆ เช่น จำนวนฝุ่นต่อลูกบาศก์เมตรหรือลูกบาศก์ฟุต (particle/m3, particle/ft3)